วันศุกร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

Bread




Bread is a staple food prepared by cooking a dough of flour and water and often additional ingredients. Doughs are usually baked, but in some cuisines breads are steamed (e.g., mantou), fried (e.g., puri), or baked on an unoiled skillet (e.g., tortillas). It may be leavened or unleavened. Salt, fat and leavening agents such as yeast and baking soda are common ingredients, though bread may contain other ingredients, such as milk, egg, sugar, spice, fruit (such as raisins), vegetables (such as onion), nuts (such as walnuts) or seeds (such as poppy). Referred to colloquially as the "staff of life", bread has been prepared for at least 30,000 years. The development of leavened bread can probably also be traced to prehistoric times. Sometimes, the word bread refers to a sweetened loaf cake, often containing appealing ingredients like dried fruit, chocolate chips, nuts or spices, such as pumpkin bread, banana bread or gingerbread.



Fresh bread is prized for its taste, aroma, quality, appearance and texture. Retaining its freshness is important to keep it appetizing. Bread that has stiffened or dried past its prime is said to be stale. Modern bread is sometimes wrapped in paper or plastic film or stored in a container such as a breadbox to reduce drying. Bread that is kept in warm, moist environments is prone to the growth of mold. Bread kept at low temperatures, in a refrigerator for example, will develop mold growth more slowly than bread kept at room temperature, but will turn stale quickly due to retrogradation.



The soft, inner part of bread is known to bakers and other culinary professionais as the crumb, which is not to be confused with small bits of bread that often fall off, called crumbs. The outer hard portion of bread is called the crust.



Etymology



The word itself, Old English bread, is common in various forms to many Germanic languages, such as Frisian brea, Dutch brood, German Brot, Swedish bröd, and Norwegian and Danish brød; it has been claimed to be derived from the root of brew. It may be connected with the root of break, for its early uses are confined to broken pieces or bits of bread, the Latin crustum, and it was not until the 12th century that it took the place—as the generic name for bread—of hlaf (𐌷𐌻𐌰𐌹𐍆𐍃 [hlaifs] in Gothic: modern English loaf), which appears to be the oldest Teutonic name. Old High German hleib and modern German Laib, Polish chleb, and Russian хлеб (khleb) all derive from the Indo-European word for "loaf". The Finnish leipä and Estonian leib, though not Indo-European, borrowed from the same root.



History



Main article: History of bread



Bread is one of the oldest prepared foods. Evidence from 30,000 years ago in Europe revealed starch residue on rocks used for pounding plants.It is possible that during this time, starch extract from the roots of plants, such as cattails and ferns, was spread on a flat rock, placed over a fire and cooked into a primitive form of flatbread. Around 10,000 BC, with the dawn of the Neolithic age and the spread of agriculture, grains became the mainstay of making bread. Yeast spores are ubiquitous, including the surface of cereal grains, so any dough left to rest will become naturally leavened.There were multiple sources of leavening available for early bread. Airborne yeasts could be harnessed by leaving uncooked dough exposed to air for some time before cooking. Pliny the Elder reported that the Gauls and Iberians used the foam skimmed from beer to produce "a lighter kind of bread than other peoples." Parts of the ancient world that drank wine instead of beer used a paste composed of grape juice and flour that was allowed to begin fermenting, or wheat bran steeped in wine, as a source for yeast. The most common source of leavening was to retain a piece of dough from the previous day to use as a form of sourdough starter.



A major advance happened in 1961 with the development of the Chorleywood bread process, which used the intense mechanical working of dough to dramatically reduce the fermentation period and the time taken to produce a loaf. The process, whose high-energy mixing allows for the use of lower protein grain, is now widely used around the world in large factories.



Recently, domestic bread machines which automate the process of making bread have become popular.



Cultural and political importance of bread



As a foodstuff of great historical and contemporary importance, in many cultures in the West and Near and Middle East bread has a significance beyond mere nutrition. The Lord's Prayer, for example, contains the line "Give us this day our daily bread"; here, "bread" is commonly understood to mean necessities in general. Bread is also significant in Christianity as one of the elements (alongside wine) of the Eucharist; see sacramental bread. The word companion comes from Latin com- "with" + panis "bread". The Roman poet Juvenal satirised superficial politicians and the public as caring only for "panem et circenses" (bread and circuses). In Israel the most usual phrase in work-related demonstrations is "lekhem, avoda" [bread, work], and during the 1950s the beatnik community used the term bread as a euphemism for money. In Cockney rhyming slang, bread means money; this usage is derived from the phrase "bread and honey".[ The word bread is now commonly used around the world in English-speaking countries as a synonym for money (as is also the case with the word dough).



The cultural importance of bread goes beyond slang to serve as a metaphor for basic necessities and living conditions in general. A "bread-winner" is a household's main economic contributor and has little to do with actual bread-provision, for example. This is also seen in the phrase "putting bread on the table". A remarkable or revolutionary innovation is often referred to as "the greatest thing since sliced bread". In Russia in 1917, Lenin and his fellow Bolsheviks promised "Peace, Land, and Bread."The term "breadbasket" is often used to denote an agriculturally productive region. In Slavic cultures bread and salt is offered as a welcome to all guests. In India, life's basic necessities are often referred to as "roti, kapra aur makan" (bread, cloth and house).



The political significance of bread is considerable. In Britain in the nineteenth century the inflated price of bread due to the Corn Laws caused major political and social divisions, and was central to debates over free trade and protectionism. The Assize of Bread and Ale in the thirteenth century demonstrated the importance of bread in medieval times by setting heavy punishments for short-changing bakers, and bread appeared in the Magna Carta a half-century earlier.



Types



See also: List of breads





Bread is the staple food in Europe, European-derived cultures such as the Americas, and the Middle East and North Africa, as opposed to East Asia whose staple is rice. Bread is usually made from a wheat-flour dough that is cultured with yeast, allowed to rise, and finally baked in an oven. Owing to its high levels of gluten (which give the dough sponginess and elasticity), common wheat (also known as bread wheat) is the most common grain used for the preparation of bread, but bread is also made from the flour of other wheat species (including durum, spelt and emmer), rye, barley, maize (corn), and oats, usually, but not always, in combination with wheat flour. Spelt bread (Dinkelbrot) continues to be widely consumed in Germany, and emmer bread was a staple food in ancient Egypt. Canadian bread is known for its heartier consistency due to high protein levels in Canadian flour.



White bread is made from flour containing only the central core of the grain (endosperm).



Brown bread is made with endosperm and 10% bran. It can also refer to white bread with added colouring (often caramel colouring) to make it brown; this is commonly labeled in America as wheat bread (as opposed to whole wheat bread).



Wholemeal bread contains the whole of the wheat grain (endosperm and bran). It is also referred to as "whole grain" or "whole wheat bread", especially in North America.



Wheat germ bread has added wheat germ for flavoring.



Whole grain bread can refer to the same as wholemeal bread, or to white bread with added whole grains to increase its fibre content, as in "60% whole grain bread".



Roti is a whole-wheat-based bread eaten in South Asia. Chapatti is a larger variant of roti. Naan is a leavened equivalent to these.



Granary bread is made from flaked malted wheat grains and white or brown flour. The standard malting process is modified to maximise the maltose or sugar content but minimise residual alpha amylase content. Other flavour components are imparted from partial fermentation due to the particular malting process used and to Maillard reactions on flaking and toasting.



Rye bread is made with flour from rye grain of varying levels. It is higher in fiber than many common types of bread and is often darker in color and stronger in flavor. It is popular in Scandinavia, Germany, Finland, the Baltic States, and Russia.



Unleavened bread or matzo, used for the Jewish feast of Passover, does not include yeast, so it does not rise.



Sourdough bread is made with a starter.



Flatbread is often simple, made with flour, water, and salt, and then formed into flattened dough; most are unleavened, made without yeast or sourdough culture, though some are made with yeast.



Quick breads






The term quick bread usually refers to a bread chemically leavened, usually with both baking powder and baking soda, and a balance of acidic ingredients and alkaline ingredients. Examples include pancakes and waffles, muffins and carrot cake, Boston brown bread, and zucchini and banana bread.



Formulation

The proportion of water to flour is the most important measurement in a bread recipe, as it affects texture and crumb the most. Professional bakers use a system of percentages known as baker's percentage in their recipe formulations. They measure ingredients by weight instead of by volume, because measurement by weight is much more accurate and consistent than measurement by volume, especially for the dry ingredients.



The amount of flour is always stated as 100%, and the amounts of the rest of the ingredients are expressed as a percent of that amount by weight. Common table bread in the U.S. uses about 50% water, resulting in a finely textured, light bread. Most artisan bread formulas contain anywhere from 60 to 75% water. In yeast breads, the higher water percentages result in more CO2 bubbles and a coarser bread crumb. One pound (450 g) of flour will yield a standard loaf of bread or two French loaves.



Calcium propionate is commonly added by commercial bakeries to retard the growth of molds.



Flour






Flour is a product made from grain that has been ground to a powdery consistency. Flour provides the primary structure to the final baked bread. Commonly available flours are made from rye, barley, maize, and other grains, but wheat flour is most commonly used for breads. Each of these grains provides the starch and protein needed to form bread.



The quantity of the protein contained in the flour serves as the best indicator of the quality of the bread dough and the finished bread. While bread can be made from all-purpose wheat flour, for quality bread a specialty bread flour, containing more protein, is recommended. If one uses a flour with a lower (9–11%) protein content to produce bread, a longer mixing time will be required to develop gluten strength properly. This extended mixing time leads to oxidization of the dough, which gives the finished product a whiter crumb, instead of the cream color preferred by most artisan bakers.



Wheat flour, in addition to its starch, contains three water-soluble protein groups (albumin, globulin, and proteoses) and two water-insoluble protein groups (glutenin and gliadin). When flour is mixed with water, the water-soluble proteins dissolve, leaving the glutenin and gliadin to form the structure of the resulting bread. When relatively dry dough is worked by kneading, or wet dough is allowed to rise for a long time (see no-knead bread), the glutenin forms strands of long, thin, chainlike molecules, while the shorter gliadin forms bridges between the strands of glutenin. The resulting networks of strands produced by these two proteins are known as gluten. Gluten development improves if the dough is allowed to autolyse.



Liquids



Water, or some other liquid, is used to form the flour into a paste or dough. The volume of liquid required varies between recipes, but a ratio of 1 part liquid to 3 parts flour is common for yeast breads, while recipes that use steam as the primary leavening method may have a liquid content in excess of one part liquid to one part flour by volume. Instead of water, other types of liquids, such as dairy products, fruit juices, or beer, may be used; they contribute additional sweeteners, fats, or leavening components, as well as water.



Leavening





Leavening is the process of adding gas to a dough before or during baking to produce a lighter, more easily chewed bread. Most bread consumed in the West is leavened. Unleavened breads have symbolic importance in Judaism and Christianity. Jews consume unleavened bread called matzo during Passover. Roman Catholic and some Protestant Christians consume unleavened bread during the Christian liturgy when they celebrate the Eucharist, a rite derived from the narrative of the Last Supper when Jesus broke bread with his disciples, perhaps during a Passover Seder. In contrast, Orthodox Christians always use leavened bread during their liturgy.



Chemical



A simple technique for leavening bread is the use of gas-producing chemicals. There are two common methods. The first is to use baking powder or a self-rising flour that includes baking powder. The second is to include an acidic ingredient such as buttermilk and add baking soda; the reaction of the acid with the soda produces gas.



Chemically leavened breads are called quick breads and soda breads. This method is commonly used to make muffins, pancakes, American-style biscuits, and sweet breads such as banana bread.



Yeast








Many breads are leavened by yeast. The yeast used for leavening bread is Saccharomyces cerevisiae, the same species used for brewing alcoholic beverages. This yeast ferments carbohydrates in the flour, including any sugar, producing carbon dioxide. Most bakers in the U.S. leaven their dough with commercially produced baker's yeast. Baker's yeast has the advantage of producing uniform, quick, and reliable results, because it is obtained from a pure culture. Many artisan bakers produce their own yeast by preparing a growth culture which they then use in the making of bread. When this culture is kept in the right conditions, it will continue to grow and provide leavening for many years.



Both the baker's yeast and the sourdough method of baking bread follow the same pattern. Water is mixed with flour, salt and the leavening agent (baker's yeast or sourdough starter). Other additions (spices, herbs, fats, seeds, fruit, etc.) are not needed to bake bread, but are often used. The mixed dough is then allowed to rise one or more times (a longer rising time results in more flavor, so bakers often "punch down" the dough and let it rise again), then loaves are formed, and (after an optional final rising time) the bread is baked in an oven.



Many breads are made from a "straight dough", which means that all of the ingredients are combined in one step, and the dough is baked after the rising time. Alternatively, dough can be made using a "pre-ferment", when the leavening is combined with some of the flour and water a day or so ahead of baking and allowed to ferment overnight. On the day of the baking, the rest of the ingredients are added, and the rest of the process is the same as that for straight dough. This produces a more flavorful bread with better texture. Many bakers see the starter method as a compromise between the highly reliable results of baker's yeast and the flavor and complexity of a longer fermentation. It also allows the baker to use only a minimal amount of baker's yeast, which was scarce and expensive when it first became available. Most yeasted pre-ferments fall into one of three categories: "poolish" or "pouliche", a loose-textured mixture composed of roughly equal amounts of flour and water (by weight); "biga", a stiff mixture with a higher proportion of flour; and "pâte fermentée", which is simply a portion of dough reserved from a previous batch. Sourdough (also known as "levain" or "natural leaven") takes it a step further, creating a pre-ferment with flour and water that propagates naturally occurring yeast and bacteria (usually Saccharomyces exiguus, which is more acid-tolerant than S. cerevisiae, and various species of Lactobacillus).



Sourdough




The sour taste of sourdoughs actually comes not from the yeast, but from a lactobacillus, with which the yeast lives in symbiosis. The lactobacillus feeds on the byproducts of the yeast fermentation, and in turn makes the culture go sour by excreting lactic acid, which protects it from spoiling (since most microbes are unable to survive in an acid environment). Formerly all yeast-leavened breads were sourdoughs, and the leavening process was not understood until the 19th century, when with the advance of microscopes scientists were able to discover the microbes that make the dough rise. Since then, strains of yeast have been selected and cultured mainly for reliability and quickness of fermentation. Billions of cells of these strains are then packaged and marketed as "baker's yeast". Bread made with baker's yeast is not sour because of the absence of the lactobacillus. Bakers around the world quickly embraced baker's yeast for it made baking simple and so allowed for more flexibility in the bakery's operations. It made baking quick as well, allowing bakeries to make fresh bread from scratch as often as three times a day. While European bakeries kept producing sourdough breads, in the U.S., sourdough baking was widely replaced by baker's yeast, and only recently has that country seen the rebirth of sourdough in artisan bakeries. According to Alton Brown, host of Food Network's Good Eats television show, each region of the world has different strains of lactobacillus, so the flavor of the bread made from home starters is unique. The San Francisco Bay Area is especially famous for its sourdough breads.




Sourdough breads are most often made with a sourdough starter (not to be confused with the starter method discussed above). A sourdough starter is a culture of yeast and lactobacillus. It is essentially a dough-like or pancake-batter-like flour–water mixture in which the yeast and lactobacilli live. A starter can be maintained indefinitely by periodically discarding a part of it and refreshing it by adding fresh flour and water. (When refrigerated, a starter can last weeks without needing to be "fed".) There are starters owned by bakeries and families that are several human generations old, much revered for creating a special taste or texture. Starters can be obtained by taking a piece of another starter and growing it, or they can be made from scratch. There are hobbyist groups on the web who will send their starter for a stamped, self-addressed envelope, and there are even mail-order companies that sell different starters from all over the world. An acquired starter has the advantage of being more proven and "established" (stable and reliable, resisting spoiling and behaving predictably) than from-scratch starters.



There are other ways of sourdough baking and culture maintenance. A more traditional one is the process that was followed by peasant families throughout Europe in past centuries. The family (usually the woman was in charge of breadmaking) would bake on a fixed schedule, perhaps once a week. The starter was saved from the previous week's dough. The starter was mixed with the new ingredients, the dough was left to rise, and then a piece of it was saved (to be the starter for next week's bread). The rest was formed into loaves which were marked with the family sign (this is where today's decorative slashing of bread loaves originates from) and taken to the communal oven to bake. These communal ovens over time evolved into what are known today as bakeries, when certain people specialized in bread baking, and with time enhanced the process so far as to be able to mass produce cheap bread for everyone in the world.



Steam



The rapid expansion of steam produced during baking leavens the bread, which is as simple as it is unpredictable. The best known steam-leavened bread is the popover. Steam-leavening is unpredictable since the steam is not produced until the bread is baked.



Steam leavening happens regardless of the rising agents (baking soda, yeast, baking powder, sour dough, beaten egg whites, etc.).

The leavening agent either contains air bubbles or generates carbon dioxide.


The heat vaporises the water from the inner surface of the bubbles within the dough.



The steam expands and makes the bread rise.

This is the main factor in the rise of bread once it has been put in the oven. CO2 generation, on its own, is too small to account for the rise. Heat kills bacteria or yeast at an early stage, so the CO2 generation is stopped.

Bacteria

Salt rising bread employs a form of bacterial leavening that does not require yeast. Although the leavening action is not always consistent, and requires close attention to the incubating conditions, this bread is making a comeback due to its unique cheese-like flavor and fine texture.

Aeration

Aerated bread is leavened by carbon dioxide being forced into dough under pressure. The technique is no longer in common use, but from the mid 19th to 20th centuries bread made this way was somewhat popular in the United Kingdom, made by the Aerated Bread Company and sold in its high-street tearooms.

Fats or shortenings

Fats such as butter, vegetable oils, lard, or that contained in eggs affects the development of gluten in breads by coating and lubricating the individual strands of protein and also helps to hold the structure together. If too much fat is included in a bread dough, the lubrication effect will cause the protein structures to divide. A fat content of approximately 3% by weight is the concentration that will produce the greatest leavening action. In addition to their effects on leavening, fats also serve to tenderize the breads they are used in and also help to keep the bread fresh longer after baking.

Bread improvers

Main article: Bread improver

Bread improvers are often used in producing commercial breads to reduce the time needed for rising and to improve texture and volume. Chemical substances commonly used as bread improvers include ascorbic acid, hydrochloride, sodium metabisulfate, ammonium chloride, various phosphates, amylase, and protease.

Salt is one of the most common additives used in production. In addition to enhancing flavor and restricting yeast activity, salt affects the crumb and the overall texture by stabilizing and strengthening the gluten. Some artisan bakers are foregoing early addition of salt to the dough, and are waiting until after a 20-minute "rest". This is known as an autolyse and is done with both refined and whole grain flours.


The serving of bread



Bread can be served at any temperature. Once baked, it can subsequently be toasted. It is most commonly eaten with the hands, or sometimes with a knife and fork. It can be eaten by itself or as a carrier for another, usually less compact food. Bread can be dipped into a liquid (such as gravy, olive oil, or soup); topped with various spreads, both sweet and savory; or used to make sandwiches with any number of varieties of meat, cheese, vegetables or condiments inside.



Bread crust



The bread crust is formed from surface dough during the cooking process. It is hardened and browned through the Maillard reaction using the sugars and amino acids and the intense heat at the bread surface. The nature of a bread's crust differs depending on the type of bread and the way it is baked. Commercial bread is baked using jets that direct steam towards the bread to help produce a desirable crust.



The crust of most breads is less soft, and more complexly and intensely flavored, than the rest, and judgments vary among individuals and cultures as to whether it is therefore the less palatable or the more flavorful part of a particular style of bread. Some manufacturers, including as of September 2009 Sara Lee, market traditional and crustless breads.



The first and last slices of a loaf (or a slice with a high ratio of crust-area to volume compared to others of the same loaf) are sometimes referred to as the heel or the crust of the loaf.



Breads in different cultures



As a simple, cheap, and adaptable type of food, bread is often used as a synecdoche for food in general in some languages and dialects, such as Greek and Punjabi. There are many variations on the basic recipe of bread worldwide, including pizza, chapatis, tortillas, bocadillo, baguettes, brioche, pitas, lavash, biscuits, pretzels, naan, bagels, puris, and many others. There are different types of traditional "cheese breads" in many countries, including Brazil, Colombia, Italy and Russia.



Europe



Germany prides itself on having the largest variety of breads worldwide. More than 300 basic kinds of bread are produced with more than 1,000 types of small bread-rolls and pastries. It has been estimated that the basic kinds of bread are so widely varied by more than 16,000 local bakeries that more than 1,000 different breads have been presented at a 2005 Cologne bread show.Germans are worldwide the biggest consumers (per capita) of bread, followed by Chile.



In Scandinavian and Nordic countries, four grain types dominated in the prehistoric era (before 1000 AD). Barley and rye are the oldest; wheat and oats are more recent. During the Iron Age (500 AD–1050 AD), rye became the most commonly used grain, followed by barley and oats. Scandinavian soldiers apparently learned baking techniques while working as mercenaries in the Roman army (200–400 AD). They subsequently took the technique home with them as a way to show that they had been employed in high-status work on the continent. Early Christian traditions promoted an interest in bread. Rye was also the most commonly used grain for bread up until the beginning of the 20th century. Today, older grain types such as emmer and spelt are once again being cultivated and new bread types are being developed from these grains. Culturally, Germany has influenced most of the bread types in the Nordic countries. In the eastern part of Finland, there is a cultural link to Russia and Slavic bread traditions.



In the late 19th century, Danish bakers in the larger towns baked fresh bread in the morning. This bread, called morgenbrød, primarily made from wheat and intended for the rising bourgeoisie, was baked into various shapes and with a variety of seasonings. Since then, this freshly baked bread has been produced in every Danish baker's shop, along with a variety of other breads. This decentralised form of baking bread alongside the more modern industrialised production of bread seems to be characteristic of the Danish bread sector. Consumption, to a great extent, has switched from rye bread to wheat bread.



Finland and Russia both have dark sourdough breads made of rye. Traditional Finnish rye bread is disc-shaped, with a hole in the center for easier storing. These breads have a rougher composition and a stronger taste than wheat bread, and can thus be stored for longer periods of time. Some families have leaven cultures, handed down from one generation to the next, that they use for baking these breads. Bread is made from all four of the cereals grown in Finland: wheat, rye, barley and oats; these are usually ground into various grades. Rye bread can be either light or dark in colour, depending on the type of flour mixture used. A few wheat breads are still made in Finland, although most are simple buns or loaves of sliced or unsliced bread. Some of the breads are thinner, multigrain types, such as elongated sekaleipä. Vesirinkeli (water rings) are small, almost tasteless rings of yeast-leavened wheat bread, which resemble bagels. The potato, although a late introduction to Finland in the early 19th century, features heavily in food culture and has found its way into many kinds of bread.



With the settlement of Iceland about 800–900 AD, grain, in the form of barley, was brought, cultivated and used for bread and porridge. Grain cultivation is thought to have been abandoned before 1600 due to harsher climatic conditions, and subsequently most grains such as barley and rye were imported. The scarcity of grain was overcome in different ways in different parts of the country. In some areas, grain was made to go further using dulse (Palmaria palmata; in Icelandic, söl), Iceland moss (Cetraria islandica; in Icelandic, fjallagrös) or Irish moss (Chondrus crispus; in Icelandic, fjörugrös) in compotes and breads. It was not until the 18th century that it became common practice to make leavened rye breads; sourdough was mostly used. Rye breads baked in hot springs are a popular item today, and are served for local consumption as well as for tourists. In general, stock fish (harðfiskur) was served as a bread substitute, eaten with butter on the side with almost every meal. Today, it is a popular snack which has found a new target group within the sports food market because of its high protein and favourable amino acid content. Most types of breads available in other Western countries are now also available in Iceland, either baked in Iceland or imported. Everyday bread is mostly made by industrial bakeries or at the local bakery. Of the bread types currently available, flatbrauð (flatbread) and laufabrauð (leaf bread) have the longest history.



Many new types of bread have reached the markets in Norway in recent years. A high percentage of people reported regularly eating bread types such as spelt, speciality, gourmet, and fibre/bran bread, as well as ciabattas and baguettes, although very few reported doing so on a daily basis. Norwegian bakers now have competition from abroad. The wholegrain bread from local bakers must give way to huge lorry loads of baguettes and frozen dough offering cheaper products. Flatbread is still a very popular bread type.



In Sweden, during the transition to a modern urban and industrialised society in the 19th century, bread types changed when large industrial bakeries introduced new soft bread. From the early 1920s, these were often sweetened. From then on, bread was bought from stores and bakeries, rather than baked at home, as had previously been the case. Regional variation decreased due to the transportation and marketing of bread as a national product. The consumption of bread products of various kinds has increased since the 1990s, and wholegrain bread and wheat bread are the most popular. Many older bread types still exist alongside the newer varieties.



There is a wide variety of traditional breads in Great Britain, often baked in a rectangular tin. One such type of traditional thick, flat, round loaf from North East England is known as a "stottie cake". In Scotland another form of bread called plain bread is also consumed. These loaves are noticeably taller and thinner, with burned crusts at only the top and bottom of the loaf, and with a much firmer texture than English and American pan bread.



In Ireland it is traditionally held that the end of a loaf of bread (the "heel" or, rarely, "hilt" of the loaf) is the best part of the loaf. Other stories and myths surround this piece of the bread in Irish mythology. Irish soda bread, developed to make the most of the soft wheat grown in Ireland, is unusual for a European bread in that it is a quick bread, using the reaction of buttermilk and baking soda rather than yeast to rise. Another traditional Irish bread is barmbrack, a yeasted bread with added sultanas and raisins, customarily consumed at Halloween. Potato bread is also traditional in Ireland, especially in Ulster.



South America



In Mexico, bread is called pan . Although corn tortillas are the staple bread in most of Mexico, bread rolls in many varieties are an important daily food for city dwellers. Popular breads in Mexico include the bolillo roll and pan dulce. There are many varieties, about 1,000.Pan dulce, which is Spanish for "sweet bread", is primarily eaten at breakfast.



In Peru, pan has many variations due to the diversity of Peruvian cuisine. People usually eat pan de piso and pan serrano. There are also some kinds of bread made of potatoes; these are currently popular in the Andes. Bizcochos are sweet bread usually eaten with some butter and hot chocolate. A dough made with cooked pumpkin or squash, often shaped and fried into doughnuts and served with a sweet fruity dipping sauce, is a traditional favorite. Bread is an ingredient of sopas de ajo, gazpacho, and salmorejo.



North Africa



In Morocco and western North Africa a round bread which is roughly four inches (10 cm) tall is used to accompany most of the watery cuisine.Also consumed is a thick and chewy fried bread which is smothered in oil beforehand. The rghifa bread is a staple in the food of Morocco and consists of several layers of lightly cooked bread.



In Ethiopia in east North Africa, a bread called injera is made from a grain called teff.This is a wide, flat, circular bread that is also used as a utensil to pick up food. Teff has no gluten.



In France, pan bread is known as pain de mie and is used only for toast or for making stuffing; standard bread (in the form of baguettes or thicker breads) has a thick crust and often has large bubbles of air inside. It is often baked three times daily and is sold totally unwrapped for a crisp crust. Some fancy breads contain walnuts or are encrusted with poppy seeds.



Because of its long history of regional political division, Italy specializes in many different kinds of bread, reflecting its great regional variation and widely different breadmaking recipes and traditions. Generally, rolls are typical of the northern regions, while large loaves are typical of the southern regions. Bread often has a small quantity of olive oil, butter, or rendered lard mixed into the dough to make it softer and more palatable. Traditional rustic breads include sfilatino imbottito (a stuffed bread roll) and pizza bianca (a flat white bread).Focaccia is quite popular in Italy and southern France. In Provence, it is known as fougasse or fouace, with the former becoming increasingly common.Fougasse can now be bought all over France. It is usually seasoned with olive oil and herbs, and often either topped with cheese or stuffed with meat or vegetables. Focaccia doughs are similar in style and texture to pizza doughs.



In Spain, bread is called pan. The traditional Spanish pan is a long loaf of bread, similar to the French baguette but wider. One can buy it freshly made ​​every morning in the traditional bakeries, where there is a large assortment of bread. A smaller version is known as bocadillo, an iconic piece of the Hispanic cuisine. In Spain, especially in the Mediterranean area, there have been guilds of bakers for over 750 years. The bakers guild in Barcelona was founded in 1200 AD.There is a region called Tierra del Pan (literally translated as "Land of the Bread"), located in the province of Zamora, where economy was in the past joined to this activity.



Asia



The traditional bread in China is mantou. It is made by steaming or deep-frying dough made from wheat flour. In Northern China and northern central China, mantou is often eaten as an alternative staple to rice. Steamed mantou is similar to Western white bread, but since it is not baked it does not have a brown outer crust. Mantou that have a filling such as meat or vegetables (char siu bao, for example) are called baozi. The kompyang of Fuzhou is an example of a Chinese bread baked in a clay oven.


In South Asia (including India, Pakistan, and the Middle East), roti or chapati, types of unleavened flatbreads usually made from whole wheat flour and baked on a hot iron griddle called a tava, form the mainstay of the people's diet. Rotis and naans are usually served with curry throughout the region. A variant called makki di roti uses maize flour rather than white flour. Another variant is puri, a thin flat bread which is fried rather than baked and puffs up while cooked. Paratha is another variation on roti. Naan (leavened wholewheat bread) is baked in a tandoor or clay oven and is rarely prepared at home. White and brown breads are also very common, but not as common as roti.



In the Philippines, pandesal (or pan de sal; literally, "bread of salt" or "salt bread") is a rounded bread usually eaten by Filipinos during breakfast. The Philippines also produces a cheap generic white bread called Pinoy Tasty.



North America



Traditional breads in the United States include cornbreads and various quick breads, such as biscuits. Cornbread is made from cornmeal and can differ significantly in taste and texture from region to region. The South generally prefers white cornmeal with little to no wheat flour or sweeteners added. It is traditionally baked in a cast-iron skillet and ideally has a crunchy outside and moist inside. The North usually prefers yellow cornmeal with sometimes as much as half wheat flour in its composition, as well as sugar, honey, or maple syrup. This results in a bread that is softer and sweeter than its southern counterpart. Homemade wheat breads are made in a rectangular tin similar to those in the United Kingdom. Rolls, made from wheat flour and yeast, are another popular and traditional bread, eaten with the dinner meal. Sourdough biscuits are traditional "cowboy food" in the West. The San Francisco Bay Area is known for its crusty sourdough. Spoon bread, also called batter bread or egg bread, is made of cornmeal with or without added rice and hominy, and is mixed with milk, eggs, shortening and leavening to such a consistency that it must be served from the baking dish with a spoon. This is chiefly popular in the South. Up until the 20th century (and even later in certain regions), any flour other than cornmeal was considered a luxury; this would explain the greater variety in cornbread types compared to that of wheat breads. Commercially, the most popular bread has been a soft-textured type with a thin crust that is usually made with milk and is slightly sweet; this is the type that is generally sold ready-sliced in packages. It is usually eaten with the crust, but some eaters or preparers may remove the crust due to a personal preference or style of serving, as with finger sandwiches served with afternoon tea. Some of the softest bread, including Wonder Bread, is referred to as "balloon bread". Though white "sandwich bread" is the most popular, Americans are trending towards more artisanal breads. Different regions of the country feature certain ethnic bread varieties including the French baguette, the Ashkenazi Jewish bagel, scali (an Italian-style bread made in New England), Native American frybread (a product of hardship, developed during the Indian resettlements of the 19th century), and Jewish rye, a bread commonly associated with delicatessen cuisine.



Influence of particular religions



Christian traditional societies (usually in poor communities) used to respect bread since Jesus symbolised his body with it. The sign of the cross was performed with the knife on the bread's surface, before the loaf was cut. Sometimes it was considered a sin to desecrate bread (e.g., throw it away).



Jews have traditionally baked challah, a type of egg bread with a thin, hard crust and a soft, well-leavened center. It is made by wrapping plaits of dough and then lightly baking them in an oven. Challah is sometimes sweetened using honey and sometimes includes raisins. During Passover, unleavened bread, in the form of various types of matzo, is required due to the Biblical injunction to avoid any form of leaven during this time of year. There is some debate within the Jewish community as to whether dairy products are allowed in kosher bread; some authorities maintain that bread must be strictly pareve to avoid combining meat and dairy in the same meal, while others feel it is acceptable as long as a sign of some sort (usually a different loaf shape, but others are known) is baked into the loaf to distinguish it from pareve bread.

วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2554

โรคไต

โรคไต หมายถึง โรคชนิดหนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติของพยาธิสภาพของไตในการทำงานเพื่อขับของเสียออกจากร่างกายและรักษาความสมดุลของเกลือและน้ำในร่างกายคนเรา โรคไตมีหลายประเภทดังนี้




  • โรคไตวายฉับพลันจากเหตุต่างๆ

  • โรคไตวายเรื้อรังเกิดตามหลังโรคเบาหวาน โรคไตอักเสบ โรคความดันโลหิตสูง โรคเก๊าท์

  • โรคไตอักเสบเนโฟรติก

  • โรคไตอักเสบจากภาวะภูมิคุ้มกันสับสน (โรค เอส.แอล.อี.)

  • โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ

  • โรคถุงน้ำที่ไต (Polycystic Kidney Disease)

สาเหตุ



  • เป็นมาแต่กำเนิด (Congenital) เช่นมีไตข้างเดียว หรือไตมีขนาดไม่เท่ากัน โรคไตเป็นถุงน้ำ (Polycystic kidney disease) ซึ่งเป็น กรรมพันธุ์ด้วย เป็นต้น

  • เกิดจากการอักเสบ (Inflammation) เช่นโรคของกลุ่มเลือดฝอยของไตอักเสบ (glomerulonephritis)

  • เกิดจากการติดเชื้อ (Infection) เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเป็นส่วนใหญ่ เช่นกรวยไตอักเสบ ไตเป็นหนอง กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (จากเชื้อ โรค) เป็นต้น

  • เกิดจากการอุดตัน (Obstruction) เช่นจากนิ่ว ต่อมลูกหมากโต มะเร็งมดลูกไปกดท่อไต เป็นต้น

  • เนื้องอกของไต ซึ่งมีได้หลายชนิด

อาการ



  1. อาการปัสสาวะผิดปกติ เนื่องจากไตและกระเพาะปัสสาวะทำงานสัมพันธ์กัน เมื่อไตเกิดผิดปกติจึงส่งผลให้กระเพาะปัสสาวะผิดปกติไปด้วย อาการผิดปกติของปัสสาวะมีดั้งนี้ ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก เจ็บ ต้องออกแรงแบ่ง ปัสสาวะไม่พุ่ง ปัสสาวะสะดุดกลางคัน ปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ ปัสสาวะเป็นฟองมาก ปัสสาวะเป็นเลือด

  2. อาการบวม ผู้ป่วยโรคไตส่วนมากมีอาการบวมตามที่ต่างๆ ของร่างกาย เช่น บวมรอบดวงตาและที่บริเวณใบหน้า บวมที่เท้า หากใช้นิ้วกดไปตรงบริเวณที่บวมแล้วมีรอยบุ๋มลงไปให้สันนิษฐานไว้เลยว่าเป็นโรคไต

  3. อาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง เอว กระดูกและข้อ โดยจะมีลักษณะการปวดคือ รู้สึกปวดที่บั้นเอวหรือบริเวณชายโครงด้านหลังและมักปวดร้าวไปถึงท้องน้อย ขาอ่อน หัวหน่าว และที่อวัยวะเพศ

  4. ความดันโลหิตสูง เป็นอาการสำคัญที่บอกให้รู้ว่าคุณมีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรัง ยิ่งผู้ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงมานานและไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในภาวะที่สมดุล ยิ่งมีความเสี่ยงมากกว่าปกติโดยอาจจะเป็นโรคไตเรื้อรังและโรคหลอดเลือดแดงในไตตีบ

วิธีรักษา


อาจแบ่งได้เป็น 4 วิธีหลักๆ ด้วยกัน คือ



  1. การตรวจค้นหาและการวินิจฉัยโรคไตที่เหมาะสม การตรวจค้นหา หรือวินิจฉัยโรค ที่ถูกต้องได้ในระยะต้นๆ ของโรค ย่อมมีโอกาสได้รับผลการรักษาดีกว่าการเข้าวินิจฉัยล่าช้า

  2. การรักษาที่สาเหตุของโรคไต เช่น การรักษานิ่วไต การหยุดยาซึ่งเป็นพิษต่อไต การควบคุมโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ให้ดีอย่างสม่ำเสมอ การใช้ยาที่เหมาะสม กับโรคเนื้อไตอักเสบแต่ละชนิด เป็นต้น

  3. การรักษาเพื่อชะลอความเสื่อมของไต แม้แพทย์จะรักษาสาเหตุของโรคไตแล้วแต่ผู้ป่วยจำนวนมากอาจมีการทำงานของไตที่เสื่อมลงกว่าปกติ เพราะเนื้อไตบางส่วนถูกทำลายไปไตส่วนที่ดีซึ่งเหลืออยู่จะต้องทำงานหนักขึ้นทำให้ไตเสื่อมการทำงานมากขึ้นตามระยะเวลาและมักเกิดไตวายในที่สุด ดังนั้นการชะลอการเสื่อมของไต อันได้แก่ การควบคุมอาหารให้เหมาะ กับการทำงานของไตที่เหลืออยู่ การใช้ยาเพื่อช่วยปรับสารต่างๆ ที่เป็นพิษต่อไต การควบคุมความดันโลหิตให้ดี เป็นต้น

  4. การรักษาทดแทนการทำงานของไต (การล้างไตและการผ่าตัดปลูกถ่ายไต) เมื่อไตวายมากขึ้นจนเข้าระยะสุดท้าย ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาด้วยการล้างไตหรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไต
วันสารทไทย


ความหมาย
สารทเป็นการทำบุญกลางปีของไทยตรงกับวันสิ้นเดือน ๑๐ หรือวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ซึ่งเป็นฤดูที่พืชพันธุ์ธัญชาติและผลไม้สุกข้าวและต้นผลไม้ที่ปลูกไว้กำลังให้ผลเป็นครั้งแรกในฤดูนี้


ความเป็นมา
สารทเป็นนักขัตฤกษ์ ถือเป็นประเพณีนิยมมาแต่โบราณว่าเทศกาลทำบุญสิ้นเดือน ๑๐ คือ วัน เวลา เดือน และปีที่ผ่านพ้นไปกึ่งปี และโดยที่มนุษยชาติดำรงอยู่ได้ด้วยเกษตรกรรมเป็นหลักสำคัญเมื่อถึงกึ่งปีเป็นฤดูกาลที่ข้าวออกรวงเป็นน้ำนม จึงได้มีกรรมวิธีปรุงแต่งที่เรียกว่า กวนข้าวทิพย์ หรือ ข้าวปายาส ข้าวยาคู และขนมชนิดหนึ่งเรียกว่า กระยาสารท แล้วประกอบการบำเพ็ญกุศลถวายพระสงฆ์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ข้าวในนาทั้งอุทิศส่วนกุศลให้บรรพชนผู้มีพระคุณ และแจกสมนาคุณญาติมิตรตามคติที่ชาวไทยเป็นพุทธ-ศาสนิกชน แม้จะเป็นประเพณีที่มีส่วนมาจากลัทธิพราหมณ์ ชาวไทยก็นิยมรับเพราะเป็นประเพณีในส่วนที่มีคุณธรรมอันดีพึงยึดถือปฏิบัติพิธีสารทนอกจากเป็นประเพณีของชนชาวไทยทั่วไปแล้วในส่วนของพระมหากษัตริย์ที่เรียกว่าพิธีของหลวงนั้นในสมัยสุโขทัยมีในตำนานนางนพมาศว่า

" ...ราชบุรุษชาวพนักงานตกแต่งโรงพิธีในพระราชนิเวศน์ ตั้งก้อนเส้าเตาเพลิงแลสัมภาระเครื่องใช้เบ็ดเสร็จ นายนักการระหารหลวงก็เก็บเกี่ยวครรภสาลีและรวงข้าวมาตากตำเป็นข้าวเม่า ข้าวตอกส่งต่อมณเฑียรวังเวรเครื่อง นายพระโคก็รีดน้ำขีรารสมาส่งดุจเดียวกันครั้งได้ฤกษ์รับสั่งให้จ่าชาวเวรเครื่องทั้งมวลตกแต่งปรุงมธุปายาส ปรุงปนระดมเจือล้วนแต่โอชารส มีขัณฑสกร น้ำผึ้ง น้ำอ้อย น้ำตาล นมสด เป็นต้น ใส่ลงในภาชนะซึ่งตั้งบนเตาเพลิงจึงให้สาวสำอางกวนมธุปายาสโดยสังเขป ชาวดุริยางค์ดนตรีก็ประโคมพิณพาทย์ ฆ้องกลอง เล่นการมหรสพ ระเบงระบำล้วนแต่นารี แล้วพระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยราชบริพารนำข้าวปายาส ไปถวายพระมหาเถรานุเถระ"

ถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ก็ได้สืบประเพณีพระราชพิธีสารทมาจัดทำ เช่น ในรัชกาลที่ ๑ มีพระราชพิธีสารทกวนข้าวทิพย์ รัชกาลต่อมาได้ทำบ้างงดบ้าง จนถึงปีพุทธศักราช ๒๔๗๐ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีสารท มีกำหนดการดังนี้เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์(ม.ร.ว.เย็น อิศรเสนา) เสนาบดีกระทรวงวังรับพระบรมราชโองการเหนือเกล้าฯ สั่งว่าราชประเพณีแต่ก่อนมา ถึงเวลากลางปีเคยมีการพระราชพิธีสารทกวนข้าวทิพย์ปายาสทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายยาคู แด่พระสงฆ์ ด้วยว่าประจวบฤดูข้าวในนาแรกออกรวงเป็นกษีรรสพอจะเริ่มบริจาคเป็นทานถวายแด่ภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ได้เรียกว่า สาลีคัพภทาน แต่เว้นว่างมิได้กระทำมาเสียนานมีพระราชประสงค์ที่จะทรงกระทำในปีนี้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธีสารทในพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย แต่งสาวพรหมจารีราชอนุวงศ์ให้กวนข้าวทิพย์ปายาส แลแผ่พระราชกุศลแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาทฝ่ายหน้าฝ่ายใน ให้รับรวงข้าวอ่อนไปแต่งเป็นยาคูบรรจุโถทำด้วยฟักเหลืองประดับประดาอย่างวิจิตรพึงชม ถวายโดยเสด็จในการพระราชกุศลพิธีสารท มีกำหนดการดังนี้



วันที่ ๒๕ กันยายน ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์ เดือน ๑๐ แรม ๑๕ ค่ำ ปีเถาะ เจ้าพนักงานจะได้แต่งการในพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยเชิญพระพุทธรูปชัยวัฒน์ทั้ง ๗ รัชกาลแลพระสุพรรณบัฏ พระมหาสังข์พระเต้าน้ำพระพุทธมนต์ ทั้งพระแสงราชาวุธ จัดตั้งไว้บนพระแท่นเศวตฉัตร ตั้งโต๊ะจีนสองข้างประดิษฐานพระพุทธรูปนิรันตรายบนโต๊ะข้างตะวันออก ประดิษฐานรูปพระสยามเทวาธิราชบนโต๊ะข้างตะวันตก ตั้งเครื่องนมัสการสรรพสิ่งทั้งปวง สำหรับพระราชพิธีพร้อมกับทั้งตกแต่งโรงพระราชพิธีที่กวนข้าวทิพย์ปายาส ณ สวนศิวาลัย แลแต่งหอเวทวิทยาคมพราหมณ์เข้าพิธีเสร็จสรรพ เวลา ๕.๐๐ ล.ท. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชดำเนินเข้าสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ทรงจุดเทียนนมัสการทรงศีล อาลักษณ์อ่านประกาศพระราชพิธีสารทเมื่ออาลักษณ์อ่านประกาศจบ พระสงฆ์ ๓๐ รูป สวดพระพุทธมนต์สาวพรหมจารีราชอนุวงศ์ซึ่งจะกวนข้าวทิพย์ปายาสฟังพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ในพระสูตร ครั้นสวดจบสมเด็จพระสังฆราชเจ้าถวายอดิเรกถวายพระพรลา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำพระมหาสังข์ ทรงเจิมพระราชทานสาวพรหมจารี แล้วท้าวนางนำไปสู่โรงพระราชพิธี ณ สวนศิวาลัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปเข้าโรงพระราชพิธี ทรงหลั่งน้ำพระมหาสังข์ลงในกะทะแลทรงเจิมพายแล้วทรงรินน้ำพระพุทธมนต์ในพระเต้าลงกะทะโดยลำดับ โปรดเกล้าฯให้หม่อมเจ้าน้อยฯ นำเครื่องปรุงอเนกรสหยอดตามเสด็จไป เจ้าพนักงานเทถุงเครื่องกวนลงในกะทะ สาวพรหมจารีกวนข้าวทิพย์ปายาส เจ้าพนักงานประโคมฆ้องชัย สังข์ แตร เครื่องดุริยางค์ พราหมณ์ หลั่งน้ำเทพมนต์ลงทุกกะทะ เพื่อเป็นสวัสดิมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินกลับ ครั้นกวนข้าวทิพย์ปายาสได้ที่แล้ว เจ้าพนักงานบรรจุเตียนนำไปตั้งไว้ในมณฑลพระราชพิธี ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย


วันที่ ๒๖ กันยายน ตรงกับวันจันทร์ เดือน ๑๑ ขึ้น ๑ ค่ำ ปีเถาะเวลาเช้าเจ้าพนักงานจะได้รับโถยาคู ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ข้าทูลละอองธุลีพระบาทแต่งมาโดยเสด็จการพระราชกุศล จัดตั้งเรียงไว้ถวายตัว เวลา ๑๐ นาฬิกา ๓๐ นาที พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเข้าสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ทรงจุดเทียนนมัสการทรงศีล พระสงฆ์ถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรโถยาคู ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ข้าทูลละอองธุลีพระบาทแต่งมาถวาย ทรงเลือกปักธงชื่อพระตามพระราชประสงค์จำนงพระราชทานโถไหนแก่รูปไหนแล้ว เจ้าพนักงานยกไปตั้งตามที่ทางประเคนภัตตาหารแก่พระสงฆ์ ครั้นพระสงฆ์ฉันของคาวแล้ว โปรดเกล้าฯ ให้ประเคนของหวานกับทั้งยาคูแลข้าวทิพย์ปายาส ครั้นฉันแล้วทรงประเคนเครื่องไทยธรรม พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา สมเด็จพระสังฆราชเจ้าถวายอดิเรกถวายพระพรลาแล้ว เสด็จพระราชดำเนินกลับ เจ้าพนักงานจำแนกข้าวทิพย์ปายาสพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ กับข้าทูลละอองธุลีพระบาททั่วกันแล้ว เป็นเสร็จการพิธีของประชาชนในประเพณีเกี่ยวกับการทำบุญเนื่องในวันสารทไทย ซึ่งกำหนดไว้เป็นที่แน่นอนว่า วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ดังกล่าวมาแล้วนั้น ปรากฎว่า มีประเพณีทำบุญทำนองเดียวกันในภาคอื่น ๆ ด้วย
หากแต่กำหนดวันและวิธีปฏิบัติอาจแตกต่างกันดังนี้


ภาคใต้
มีประเพณีทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ปู่ย่าตายายญาติพี่น้องและบุคคลอื่น ๆ ที่ล่วงลับไปแล้ว ในเดือน ๑๐ เป็นสองวาระคือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ครั้นหนึ่ง และวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ อีกครั้งหนึ่งโดยถือคติว่า พ่อแม่ปู่ย่าตายายและญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วโดยเฉพาะผู้ที่ต้องตกนรกหรือเรียกว่าเปรตนั้น จะได้รับอนุญาตให้มาพบกับญาติของตนในเมืองมนุษย์ได้ในวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ และกลับไปสู่นรกดังเดิม ในวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ดังนั้น จึงมีการทำบุญในสองวาระดังกล่าวนี้ แต่ส่วนใหญ่ทำวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ เพราะมีความสำคัญมากกว่า (บางท้องถิ่นทำในวันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐) การทำบุญของชาวไทยภาคใต้ดังกล่าวนี้มีชื่อเรียกเป็น ๔ อย่างคือ
๑. ประเพณีทำบุญเดือนสิบ โดยกำหนดเอาเดือนทำบุญเป็นหลัก
๒. ประเพณีทำบุญวันสารท โดยถือหลักของการทำบุญที่มีความสัมพันธ์กับอินเดีย เหมือนวันสารทไทยของคนไทยในภาคกลางดังกล่าวมาแล้ว บางครั้งก็เรียกว่า ประเพณีทำบุญสารทหรือเดือนสิบ
๓. ประเพณีจัดห.ม.รับ (สำรับ) การยกห.ม.รับ และการชิงเปรตคำว่า จัดห.ม.รับ ได้แก่ การจัดเสบียงอาหารเป็นสำรับถวายพระภิกษุโดยให้พระภิกษุจับสลากแล้วให้ศิษย์เก็บไว้ แล้วนำถวายพระภิกษุเป็นมื้อ ๆ การยก ห.ม.รับที่จัดเรียบร้อยแล้วไปวัดพร้อมทั้งภัตตาหารไปถวายพระภิกษุในช่วงเวลาเช้าก่อนเพล จะจัดเป็นขบวนแห่ใหญ่โตก็ได้ บางแห่งแต่งตัวเป็นเปรตเข้าร่วมไปในขบวนด้วย ส่วนชิงเปรตหรือตั้งเปรตนั้น เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำบุญ กล่าวคือ เมื่อจัดห.ม.รับ ยกห.ม.รับไปถวายพระภิกษุแล้วจะเอาอาหารที่จัดไว้ซึ่งเป็นอีกส่วนหนึ่ง
ต่างหากไปจัดตั้งไว้ให้เปรต โดยมากเป็นอาหารที่ผู้ล่วงลับไปแล้วชอบในสมัยที่ยังมีชีวิตอยู่ แต่ที่ขาดไม่ได้ก็คือขนม ๕ อย่าง คือ ขนมพองขนมลา ขนมกง ขนมดีซำ และขนมบ้า สถานที่ตั้งอาหาร เป็นร้านสูงพอสมควร เรียกว่า ร้านเปรตหรือหลา (ศาลา) เปรต มีสายสิญจน์วงรอบโดยให้ปลายสายสิญจน์อีกข้างหนึ่งโยงมาสำหรับพระภิกษุชักบังสุกุลซึ่งชาวบ้านจะกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ พบเก็บสายสิญจน์แล้วก็จะมีการแย่งอาหารและขนมที่ตั้งเปรตไว้นั้นอย่างสนุกสนานเรียกว่าชิงเปรต แล้วนำมากิน ถือว่าได้กุศลแรงและเป็นสิริมงคล การทำบุญด้วยวิธีตั้งเปรตและชักบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลนี้ บางครั้งเรียกว่า การฉลองห.ม.รับและบังสุกุล ถือว่าสำคัญเพราะถือว่าเป็นวันส่งญาติผู้ล่วงลับไปแล้วด้วย
๔. ประเพณีทำบุญตายายหรือประเพณีรับส่งตายาย โดยถือคติว่า ญาติที่ล่วงลับไปแล้วกลับมาเยี่ยมลูกหลานในวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ และกลับนรกตามเดิมในวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ แต่มีบางแห่งถือว่าญาติที่ล่วงลับไปแล้ว เหล่านี้เป็นตายาย เมื่อท่านมาก็ทำบุญรับ เมื่อท่านกลับก็ส่งกลับ จึงเรียกประเพณีดังกล่าวนี้ว่า ทำบุญตายาย ของทำบุญก็เหมือนกับที่กล่าวไว้ในข้อ ๓


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาค
อีสาน มีประเพณีการทำบุญในเดือน ๑๐ เหมือนกัน คือ ทำในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ แต่แบ่งระยะเวลาของประเพณีการทำบุญออกไปเป็น ๒ ระยะ ดังนี้
ระยะแรก ก่อนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ชาวบ้านจะเตรียมข้าวเม่าพอง และข้าวตอก (บางแห่งเรียกดอกแตก) ขนมและอาหารหวานคาวอื่น ๆ เพื่อจะทำบุญในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ มาถึงโดยเฉพาะ ข้าวเม่าพอง กับข้าวตอกนั้น จะคลุกให้เข้ากันแล้วใส่น้ำอ้อยน้ำตาล ถั่วงา มะพร้าวให้เป็นข้าวสาก ซึ่งตรงกับคนไทยภาคกลางเรียกว่า กระยาสารท เมื่อเตรียมของทำบุญไว้เรียบร้อย ก็จะเอาข้าวปลาอาหารไปส่งญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง ถ้าหากบุคคลเหล่านั้นอยู่ห่างไกลก็จะไปค้างคืน นอกจากมอบของแล้วจะถือโอกาสเยี่ยมเยียนถามทุกข์สุขเป็นประเพณีที่เรียกว่า ส่งเขาส่งเรา ผลัดกันไปผลัดกันมา เป็นการแลกเปลี่ยนกันส่วนข้าวสารหรือกระยาสารทนั้น จะส่งก่อนวันทำบุญหรือในวันทำบุญก็ได้ เรียกว่า ส่งข้าวสาก


ระยะที่สอง คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ เวลาเช้าชาวบ้านไปทำบุญตักบาตรที่วัด อุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ใหญ่ที่ล่วงลับไปแล้ว แต่อาจมีบางคนอยู่วัดรักษาศีล ฟังเทศน์ก็ได้ ครั้นถึงเวลาใกล้เพล ก็เตรียมภัตตาหารไปวัดอีกครั้งหนึ่ง มีห่อข้าวน้อย ห่อข้าวใหญ่ ข้าวสาก และอาหารอื่น ๆ บางแห่งอาจจัดของที่จะถวายเป็นกัณฑ์เทศน์ไปด้วยเมื่อถึงวัดแล้ว ก็จะจัดภัตตาหารและของพี่จะถวายพระภิกษุถวายเสียก่อน บางแห่งนิยมทำเป็นสลาก ชาวบ้านคนไหนจับสลากถูกชื่อพระภิกษุรูปใด ก็ถวายรูปนั้น ทำนองเดียวกับการทำบุญสลากภัตจึงเป็นเหตุให้เกิดความเข้าใจว่า การทำบุญข้าวสาก ก็คือทำบุญด้วยวิธี ถวายตามสลาก


ส่วนห่อข้าวน้อย ห่อข้าวใหญ่ ชาวบ้านแจกกันเอง ห่อข้าวน้อยนั้น เมื่อแจกแล้วก็แก้ห่อออกกินกันในวัดทีเดียว ถือกันว่าเป็นการกินในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ ส่วนห่อข้าวใหญ่เอากลับไปบ้าน เก็บไว้ในเวลาต่อไป เพราะอาหารในห่อนั้นเป็นพวกของแห้ง เช่น ปลาแห้งเนื้อแห้ง ซึ่งสามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานาน ๆ ถือคติว่าเอาไปกินในปรโลก ประเพณีแจกห่อข้าวน้อยและห่อข่าวใหญ่นี้ ปัจจุบันเกือบไม่มีแล้ว จะจัดเพียงภัตตาหารไปถวายพระภิกษุพร้อมด้วยข้าวสากหรือถวายกระยาสารทเท่านั้นสำหรับข้าวสากที่จะนำไปแจกกันเหมือนกระยาสารทของคนไทยภาคกลางนั้นวิธีห่อผิดกับทางภาคกลาง เพราะห่อด้วยใบตองกลัดด้วยไม้กลัด หัวท้ายมีรูปลักษณะคล้ายข้าวต้มมัด แต่ตรงปลายทั้งสองข้างที่เรียกว่าสันตองไม่ต้องพับเข้ามา ของที่ใส่ในห่อ มีข้าวต้ม (ข้าวเหมือนแบบข้าวต้มผัด) ข้าวสาก แกงเนื้อ แกงปลา หมาก พลู บุหรี่ห่อแล้วเย็บติดกันเป็นคู่ ๆ เอาไปห้อยไว้ตามต้นไม้ รั้วบ้าน เมื่อห้อยไว้แล้วก็ตีกลองหรือโปง เป็นสัญญาณให้เปรตมาเอาไปและปล่อยทิ้งไว้ชั่วพักหนึ่งกะเวลาที่เปรตได้มารับเอาอาหารที่ห้อยไว้นั้นไปแล้ว ชาวบ้านก็แย่งกันชุลมุน ใครแย่งเก่งก็ได้มากกว่าคนอื่น เรียกว่า แย่งเปรตของที่แย่งเปรตไปได้นี้ ชาวบ้านจะเอาไปไว้ตามไร่นา เพื่อเลี้ยงตาแฮก (ยักษินีหรือเทพารักษ์ รักษาไร่นาซึ่งเคยเลี้ยงมาเมื่อตอนเริ่มทำนาในเดือน ๖ มาครั้งหนึ่งแล้ว) นอกจากเลี้ยงตาแฮกแล้วก็เอาไปให้เด็กรับประทาน เพราะถือว่าเด็กที่รับประทานแล้วจะอ้วนท้วนสมบูรณ์ไม่เจ็๋บไข้ได้ป่วย

วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554




ลีลาวดี (Frangipani, Plumeria)



ลีลาวดี หรือ ลั่นทม (Frangipani, Plumeria, Templetree) เป็นไม้ดอกยืนต้นในสกุล Plumeria มีหลายชนิดด้วยกัน เมื่อก่อนบางคนมีความเชื่อว่า ไม่ควรปลูกต้นลั่นทมในบ้าน เนื่องจากมีชื่อเป็นอัปมงคล คือไปพ้องกับคำว่า 'ระทม' ซึ่งแปลว่า เศร้าโศก ทุกข์ใจ แต่ปัจจุบันนิยมเรียกชื่อใหม่ ว่า ลีลาวดี และนิยมปลูกกันแพร่หลายอย่างมาก ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ได้แก่ จำปา, จำปาลาว และจำปาขอม เป็นต้น
ลีลาวดี เป็นไม้ที่นำมาจากเขมร ทางภาคใต้ เรียกชื่อว่า "ต้นขอม" "ดอกอม" เล่ากันว่า ไม้นี้นำเข้ามาปลูกในไทย เมื่อคราวไปตีนครธม ได้ชัยชนะ นำต้นไม้นี้เข้ามาปลูก และเรียกชื่อเป็นที่ระลึกว่า "ลั่นธม" "ลั่น" แปลว่ ตี เช่น ลั่นฆ้อง ลั่นกลอง "ธม" หมายถึง "นครธม" ภายหลัง "ลั่นธม" เพี้ยนเป็น "ลั่นทม"
ลีลาวดี เป็นพืชนิยมปลูกเพราะดอกมีสีสันหลากหลาย สวยงาม ได้แก่ขาว เหลืองอ่อน แดง ชมพู ฯลฯ บางดอกมีมากกว่า 1 สี
ลีลาวดี เป็นไม้ประดับที่มีผู้สนใจปลูกกันอย่างมากในช่วงระยะ 4-5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากติดใจในความงามของทรงต้น ใบ และดอกที่มีหลากสีสัน โดยเมื่อนำมาปรับปรุงพันธุ์แล้วจะได้สีที่แปลกใหม่อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งดอกยังมีกลิ่นหอม อีกประการหนึ่งคือลีลาวดีเป็นพืชที่ปลูกง่าย โตเร็ว การดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก อีกทั้งมีคุณสมบัติใช้เป็นสมุนไพร
ในอดีตไม้ชนิดนี้จะไม่นิยมปลูกในบ้านเรือนเลย เพราะเนื่องจากความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับความหมายของชื่อเดิมคือ “ลั่นทม” ทำให้ลั่นทมมีปลูกไว้เฉพาะในวัด และตามโบราณสถานต่าง ๆ ในช่วงระยะ 4-5 ปีที่ผ่านมาหลังจากเป็นที่รู้จักและคุ้นหูในนามของ “ลีลาวดี” เพียงเท่านี้ต้นลีลาวดีก็เป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก โดยเฉพาะในการจัดภูมิทัศน์และจัดสวนทั้งสวนในบ้าน บริเวณตึก อาคาร รีสอร์ท สถานที่ท่องเที่ยว และสถานที่ต่าง ๆ นอกจากนี้ปัจจัยหนุนสำคัญที่ทำให้ความต้องการลีลาวดีขยายตัวคือ การขยายตัวของธุรกิจสปา ซึ่งจะสังเกตเห็นได้ว่าในสถานประกอบการ สปานั้นนิยมนำดอกลีลาวดีมาเป็นไม้ประดับ เนื่องจากความสวยงามของรูปทรง สีสันและกลิ่นหอมเย็น
ด้วยราคาที่สูงอย่างต่อเนื่องของลีลาวดี ทำให้มีเกษตรกรจำนวนมากหันมาปลูกลีลาวดีเพื่อการค้ากันอย่างเป็นล่ำเป็นสัน เนื่องจากลีลาวดีต้นใหญ่นั้นหาได้ยากขึ้น ซึ่งเกษตรกรที่มีต้นลีลาวดีทั้งต้นใหญ่ กิ่งชำ และเมล็ด ก็จะมีลูกค้าไปติดต่อขอซื้อกันอย่างต่อเนื่อง ทำให้สามารถสร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำให้แก่เกษตรกร
ในสมัยก่อน มีต้นลั่นทมเพียง 2 สายพันธุ์คือ
1. ลั่นทมขาว อย่างที่เห็นกันตามวัดวาอาราม ลั่นทมขาวจะชอบแดด มีความสูงตั้งแต่ 3 - 7 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านดูอวบ มีสีน้ำตาลปนเทา เป็นใบเดี่ยวรูปคล้ายหอก ยาว 20 - 30 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายกิ่ง ดอกมีสีขาวรูปกรวย มีกลีบดอก 5 กลีบ จะมีกลิ่นหอมมาก มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศเม็กซิโก
2. ลั่นทมแดง ทุกอย่างจะเหมือนลั่นทมขาว ยกเว้นใบ ที่บางครั้ง จะออกสีเขียวเข้ม ดอกมีสีแดงทั้งดอก ก้านออกเป็นสีม่วงแดง ดอกมีกลิ่นหอม ทั้งสองชนิดมีอายุยืน ตั้งแต่ 50 ถึง 100 กว่าปี

ดอกลีลาวดี ยังเป็นดอกไม้ประจำชาติ ของประเทศลาว โดยส่วนมากจะขึ้นอยู่ตอนเหนือของประเทศ ไทยทางขึ้นพระธาตุที่เมืองหลวงพระบาง


ความเชื่อ
คนโบราณมีความเชื่อว่า ต้นลั่นทมนั้น ไม่ควรปลูกในบ้าน ด้วยมีชื่ออัปมงคล คือไปพ้องกับคำว่า ระทม ซึ่งแปลว่า เศร้าโศก ทุกข์ใจ, จึงได้มีการเรียกชื่อเสียใหม่ให้เป็นมงคล ว่า ลีลาวดี ทั้งนี้ไม่ได้มีการกำหนดเปลี่ยนชื่อแต่อย่างใด
มีความเข้าใจผิดกันว่า ลีลาวดี นั้นเป็นชื่อพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ แต่แท้ที่จริงแล้วไม่ใช่ เป็นเพียงความเข้าใจผิด เพราะเป็นชื่อพระราชทานจาก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
ลีลาวดี ถ้าแปลตามความหมายตามอักษรแล้ว ก็คือต้นดอกไม้ที่มีท่วงท่าสวยงามอ่อนช้อย ไม้นี้เดิมเรียก ลั่นทม เป็นไม้ยืนต้นในเขตร้อน ที่เห็นทั่วๆไปมีดอกสีขาว แดง ชมพู ชื่อเดิมของพันธ์ไม้นี้คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าคำนี้มาจากคำว่า ระทมซึ่งหมายถึงความเศร้าโศกจึงไม่เป็นที่โปรดปรานปลูกในบริเวณบ้านหรือที่อยู่อาศัย แต่แท้ที่จริงแล้วมีผู้มีความรู้ด้านภาษาไทยกล่าวถึงคำว่า ลั่นทม
ลั่นทม ที่เรียกกันแต่โบราณหมายถึง การละแล้วซึ่งความโศกเศร้าแล้วมีความสุข ดังนั้นคำว่า ลั่นทมแท้ที่จริงนั้นเป็นคำผสมจาก ลั่น+ทม โดยคำแรกหมายถึง แตกหัก ละทิ้ง และคำหลังหมายถึงความทุกข์โศก ถึงแม้ว่าการเปลี่ยนชื่อมาเป็นลีลาวดีเนื่องจากความเข้าใจในภาษาคลาดเคลื่อน แต่ชื่อใหม่นั้นก็ความไพเราะสมกับท่วงท่าของลำต้น มีตำนานเล่าขานถึงที่มาของลีลาวดีในลักษณะต่างๆกันอย่างไรก็ตามพันธ์ไม้นี้ตามหลักสากล ได้ถูกเรียกชื่อว่า ฟรังกีปานี (frangipani) และเรียกกันทั่วๆไปว่า พลูมมีเรีย (plumeria)


ลักษณะทางพฤกษศาสตร์


ชื่อวงศ์ : Apocynaceae
ชื่อสามัญ : Frangipani , Pagoda tree, Temple tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plumeria spp.
ลีลาวดีมีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา พบในบริเวณพื้นที่ตั้งแต่ประเทศเม็กซิโกตอนใต้ถึงตอนเหนือของทวีปอเมริกา โดยเฉพาะหมู่เกาะทะเลแคริบเบียน
ลีลาวดีเป็นไม้ยืนต้น มีขนาดตั้งแต่พุ่มเตี้ยแคระสูงประมาณ 0.9-1.2 เมตร จนถึงต้นที่สูงมาก อาจสูงถึง 12 เมตร ลำต้นแตกกิ่งก้านสขาและพุ่มใบสวยงาม มีน้ำยางสีขาวข้น เป็นไม้ผลัดที่สลัดใบในฤดูแล้งก่อนที่จะผลิดอกและผลิใบรุ่นใหม่ กิ่งที่ยังไม่แก่มีสีเขียว อ่อนนุ่ม ดูเกือบจะอวบน้ำ กิ่งแก่มีสีเทามีรอยตะปุ่มตะป่ำ กิ่งไม่สามารถทานน้ำหนักได้ กิ่งเปราะ เปลือกลำต้นหนา ต้นที่โตเต็มที่แล้วจะพัฒนาจนกระทั่งมีความแข็งแรงมากขึ้น
ใบ เป็นใบเดี่ยว มีการเรียงตัวแบบสลับและหนาแน่นใกล้ปลายกิ่ง มีลักษณะแตกต่างกันไปทั้งรูปร่าง ขนาด สี และความหนาแน่น โดยทั่วไป ใบจะหนา เหนียวแข็ง และมีสีตั้งแต่สีเขียวอ่อนถึงสีเขียวเข้ม มีเส้นกลางใบแตกสาขาออกไปคล้ายขนนก ขนาดใบแตกต่างกัน
ช่อดอก ดอกจะผลิออกมาจากปลายยอดเหนือใบ เห็นเป็นช่อดอกใหญ่สวยงาม แต่ก็มีบางชนิดที่ออกช่อดอกระหว่างใบ หรือใต้ใบ บางชนิดห้อยลงบางชนิดตั้งขึ้น ในหนึ่งช่อจะมีดอกบานพร้อมกัน 10 – 30 ดอก บางต้นที่มีความสมบูรณ์เต็มที่อาจมีดอกมากกว่า 100 ดอก ต่อ 1 ช่อ ออกดอกประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน บางพันธุ์สามารถออกดอกได้ตลอดทั้งปี
ลักษณะของ ดอก โดยทั่วไปจะมีขนาดใหญ่ถึงกลาง ยกเว้นบางพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย อยู่ลึกเข้าไปข้างใน ดอกมีลักษณะคล้ายท่อ ทำให้มองไม่เห็นเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย โดยจะมีเกสรตัวผู้ 5 อัน อยู่ที่โคนก้านดอก ส่วนเกสรตัวเมียอยู่ลึกลงไปในก้านดอก เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียบานไม่พร้อมกัน ยากต่อการผสมตัวเอง
ฝัก มีลักษณะคล้ายกับฝักต้นชวนชม ฝักอ่อนสีจะมีสีเขียวเมื่อแก่ฝักจะมีสีแดงถึงดำ

การผลิตลีลาวดีเพื่อการค้า
การผลิตลีลาวดีเพื่อการค้าไม่ว่าจะจำหน่ายเป็นต้น จำหน่ายเป็นกิ่งพันธุ์ หรือจำหน่ายเป็นเมล็ดพันธุ์ ล้วนแต่มีราคาดี เป็นที่ดึงดูดใจของเกษตรกรผู้ที่คิดจะปลูกลีลาวดีเพื่อการค้า
การปลูกในกระถาง
ลีลาวดีตอบสนองต่อวัสดุปลูกที่มีความอุดมสมบูรณ์ ระบายน้ำดี มีอินทรียวัตถุสูง และได้รับปุ๋ยเสริมตามความเหมาะสม สัดส่วนของวัสดุปลูกที่แนะนำโดยทั่วไปคือ 2:1:1 โดยใช้ มูลวัวที่ย่อยสลายแล้ว ,ใบไม้ผุและดิน แต่วัสดุปลูกที่มีขนาดเล็กละเอียด เมื่อถึงระยะหนึ่งจะอัดตัวแน่นทำให้รากพืชขาดออกซิเจน น้ำขังไม่สามารถระบายได้ ทำให้เกิดโรครากเน่าได้
การปลูกลงดินในแปลงปลูก
ระยะปลูกในการปลูกลงในแปลงเพื่อเป็นการเก็บสะสมสายพันธุ์ดี หรือปลูกเพื่อขุดล้อมจำหน่าย การปลูกลีลาวดีต้นหนึ่งต้องใช้พื้นที่ประมาณ 5 ตารางเมตร
ดินที่เหมาะสมในการปลูกลีลาวดี ควรเป็นดินร่วนปนทราย ดินควรมีปริมาณอินทรียวัตถุที่เหมาะสม สามารถดูดความชื้นได้ ในขณะเดียวกันต้องมีการระบายน้ำที่ดี ความเป็นกรดด่างที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 6.5 - 7.5 แต่ถ้าดินไม่เป็นกรดหรือด่างจัดมากก็ไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของลีลาวดีมากนัก
การดูแลรักษา
ลีลาวดี สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่กันดาร ดินไม่อุดมสมบูรณ์มากนัก แต่ถ้าต้องการให้ลีลาวดีออกดอกได้ดี ควรนำไปปลูกในกระถางและใช้ดินที่เป็นกรดเหมือนกับพืชเขตร้อนทั่วไป ลีลาวดีชอบความชื้นในอากาศสูงและไม่ชอบอยู่ในดินที่มีน้ำท่วมขังหรือมีการรดน้ำบ่อยครั้ง การปลูกควรเน้นการระบายน้ำหรือการยกร่องในแปลงปลูกเป็นหลัก ลีลาวดีเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดในเวลากลางวันอย่างน้อยครึ่งวัน แต่หลายชนิดต้องการแสงแดดเต็มวัน ยกเว้นบางชนิดที่มีดอกสีแดงซึ่งจะชอบการพรางแสงมากกว่า
1.การให้น้ำ
การปลูกในกระถาง การให้น้ำ ควรให้จนดินเปียกทั่วถึง จนน้ำส่วนเกินระบายออกทางรูระบายน้ำ แล้วปล่อยให้วัสดุปลูกแห้งก่อนการให้น้ำครั้งต่อไป หรือช่วงแล้งจัด อาจเว้นวัน และควรตรวจดูความชื้นของวัสดุปลูกอยู่เสมอ
การปลูกลงดิน ควรให้น้ำแต่น้อยให้ประมาณสัปดาห์ละครั้ง ขึ้นอยู่กับสภาพความชื้นในอากาศ ถ้าอากาศร้อนควรให้น้ำมากกว่าปกติ เพื่อรักษาความเขียวของใบ แต่การให้น้ำมากเกินไปมีผลต่อการเจริญเติบโตทางกิ่งก้านมากและทำให้ไม่ออกดอก
2.การให้ปุ๋ย
เนื่องจากต้นลีลาวดีที่สวยและมีราคาสูงนั้น จะต้องมีฟอร์มต้นที่ดีคือมีลักษณะของทรงพุ่มกลมมีกิ่งก้านสาขาแตกออกดูแล้วมีความพอดีกับความสูงของต้น ดังนั้นการให้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปจะทำให้ต้นสูงชะลูดและไม่แทงช่อดอกในเวลาอันควร ในการที่จะเร่งการเจริญเติบโตทั้ง ทางใบ ลำต้น และดอก คือการใช้ปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมในอัตราส่วนที่เท่ากัน หรือให้ฟอสฟอรัสสูงและให้ธาตุอาหารรองที่จำเป็นต่อลีลาวดีคือ แมกนีเซียม ทองแดง เหล็ก สังกะสี กำมะถัน และแมงกานีส


การขยายพันธุ์ลีลาวดี
1. การเพาะเมล็ด จะใช้ฝักที่แก่จัด ส่วนใหญ่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ ซึ่งเมล็ดลีลาวดีงอกได้ง่าย แต่ละฝักของลีลาวดีจะได้ต้นกล้าประมาณ 50 -100 ต้น สามารถเพาะในกระถางเพาะได้เลย ข้อดี ของการเพาะเมล็ดลีลาวดี คือ จะได้ต้นที่กลายพันธุ์ หรือ ต้นลีลาวดีแคระ ด่าง
2. การปักชำ เป็นวิธีที่ง่าย รวดเร็วในการขยายพันธุ์ต้นลีลาวดีและยังเป็นวิธีรักษาพันธุ์เดิมเอาไว้
3. การเปลี่ยนยอด จะใช้ในกรณีที่ได้พันธุ์ดีแล้วนำมาเปลี่ยนยอดบนต้นตอที่เพาะกล้าไว้แล้วอาจจะเสียบข้างหรือผ่าเป็นลิ่ม วิธีนี้ต้องป้องกันไม่ให้น้ำเข้า ไม่เช่นนั้นแผลจะเน่า
4. การติดตา ใช้ในกรณีที่ได้ตามีไม่มากนัก เป็นการขยายพันธุ์แบบประหยัด กิ่งหนึ่งสามารถขยายพันธุ์ได้เป็นจำนวนมาก
โรคและแมลง
ตามปกติลีลาวดีจะไม่ค่อยมีโรคและแมลง รบกวน แต่ก็ได้มีการรวบรวมรายชื่อของโรคและแมลงที่เคยพบ
1.หนอนเจาะลำต้น
2.ไรขาว
3.แมลงหวี่ขาว
4.เพลี้ยไฟ
5.เพลี้ยหอย
6.เพลี้ยแป้ง
7.หนอนกัดกินใบ หนอนกระทู้ผัก
8.เชื้อราทำให้ยอดเน่า
9.ราสนิม
10.ราน้ำค้าง
11.ราสีดำ
การตลาดของลีลาวดี
ลักษณะการผลิตและจำหน่ายลีลาวดีภายในประเทศแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
1.การเพาะเมล็ดจำหน่ายเป็นต้นตอ ต้นตอมีความสูงประมาณ 15 – 20 เซนติเมตร สามารถจำหน่ายได้ในราคา 10 – 50 บาท แล้วแต่สายพันธุ์
2.การนำต้นตอมาเปลี่ยนยอดพันธุ์ดี ใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจากเปลี่ยนยอดพันธุ์ดีก็สามารถจำหน่ายได้ในราคาประมาณ 150 – 500 บาท แล้วแต่สายพันธุ์
3.จากต้นที่เปลี่ยนยอดพันธุ์ดีแล้วนำไปเลี้ยงดูต่ออีกประมาณ 3 - 4 เดือน สามารถจำ หน่ายได้ในราคาตั้งแต่ 1,000 – 5,000 บาท
4.การปลูกลงดินเพื่อจำหน่ายต้นไม้ขุดล้อม ราคาที่ขายในท้องตลาดขึ้นอยู่กับขนาดและฟอร์มต้น ต้นลีลาวดีที่มีความสูงประมาณ 2 เมตร ราคาจะอยู่ที่ประมาณ 4,000 – 5,000 บาท ฟอร์มต้นอยู่เกณฑ์ปานกลาง หากต้นที่สูงเกิน 2 เมตร และฟอร์มต้นได้รูป มีกิ่งก้านแตกสาขาเป็นฟอร์มกลม ลักษณะนี้เป็นลักษณะที่ดีและมีราคาแพงสนนราคาตั้งแต่ 10,000 – 15,000 บาท
5.การขายกิ่งพันธุ์ที่ไม่มีราก กิ่งละ 100 – 8,000 บาท ขึ้นกับสายพันธุ์และสีที่นิยม และขายเป็น เมล็ด ๆ ละ 2 - 10 บาท
การใช้ประโยชน์จากลีลาวดี
1.ใช้ในการจัดสวน ตกแต่งภูมิทัศน์ พันธุ์ที่ครองความนิยมอยู่คือ “พันธุ์ขาวพวง” ที่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ที่ส่งกลิ่นหอมเฉพาะตัวทั้งยังสามารถออกดอกตลอดปี
2.ลีลาวดียังมีสรรพคุณเป็น “ยาสมุนไพร” ด้วย
ต้น = ใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคลำไส้พิการของม้า
ใบ = ใบแห้งชงน้ำร้อนดื่มรักษาโรคหอบหืด ใบสดลนไฟประคบร้อนแก้ปวด บวม
เปลือกราก = เป็นยารักษาโรคหนองใน ยาถ่าย แก้โรคไขข้ออักเสบ ขับลม
เปลือกต้น = ต้มเป็นยาถ่าย ขับระดู แก้ไข้ แก้โรคโกโนเรีย หรือผสมกับน้ำมันมะพร้าว-ข้าว-มันเนยเป็นยาแก้ท้องเดิน ยาถ่าย ขับปัสสาวะ
ดอก = ใช้ทำธูป ใช้ผสมกับพลูเป็นยาแก้ไข้ แก้ไข้มาลาเรีย
เนื้อไม้ = เป็นยาแก้ไอ ยาถ่าย ขับพยาธิ
ยางจากต้น = เป็นยาถ่าย รักษาโรคไขข้ออักเสบ ใช้ผสมกับไม้จันทน์และการบูรเป็นยาแก้คัน แก้ปวดฟัน

การทำบุญในพระพุทธศาสนา มี 2 อย่าง ได้แก่

1. ทำบุญในงานมงคล ได้แก่ การทำบุญในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและญาติสนิทมิตรสหาย เช่น การทำบุญขึ้นบ้านใหม่ การแต่งงาน เป็นต้น

2. ทำบุญในงานอวมงคล ได้แก่ การทำบุญเพื่อความสุขความเจริญแก่ผู้อื่นที่ตนควรสงเคราะห์หรือที่ควรบูชา การทำบุญเกี่ยวกับการตาย เช่น การทำบุญหน้าศพ การทำบุญอัฐิบรรพบุรุษ เป็นต้นการทำบุญงานมงคลพิธีฝ่ายเจ้าภาพ ผู้ที่จะทำบุญเนื่องในงานมงคลต่าง ๆ นั้น เบื้องต้นจะต้องตระเตรียมกิจการต่าง ๆ ดังนี้

2.1 อาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ นิยมเป็นจำนวนคี่ เช่น 5 รูป 7 รูป หรือ 9 รูป

2.2 เตรียมที่ตั้งพระพุทธรูปพร้อมทั้งเครื่องบูชาเช่นโต๊ะหมู่บูชาควรจัดตั้งไว้ทางด้านขวามือของพระสงฆ์โดยให้พระพุทธรูปผินพระพักตร์ไปทางด้านเดียวกับพระสงฆ์

2.3 ตกแต่งสถานที่บริเวณพิธีให้เหมาะสมกับการทำพิธี
2.4 เชิญพระพุทธรูปมาตั้งบนที่บูชา
2.5 วงด้ายสายสิญจน์ใช้ด้ายดิบจับ2ครั้ง9เส้น1ม้วนโยงรอบบ้านหรือรอบบริเวณที่ทำพิธีเวียนจากซ้ายไปขวาแล้วโยงเข้ามาที่โต๊ะหมู่บูชาโยงรอบโต๊ะบูชาจากซ้ายไปขวา เช่นเดียวกันไม่ควรไปพันที่องค์พระควรพันใต้ฐานพระโยงมาที่ภาชนะน้ำมนต์พันที่เชิงรองโดยเวียนขวาแล้วนำสายสิญจน์วางไว้บนพานตั้งไว้ข้างโต๊ะใกล้พระเถระผู้เป็นประธาน
2.6 ปูลาดอาสนะสำหรับพระสงฆ์ โดยใช้เสื่อหรือพรมปูพื้นรองรับอาสนะสงฆ์อีกชั้นหนึ่ง
2.7 เตรียมเครื่องรับรองพระสงฆ์ตามควรแก่ฐานะ เช่น กระโถน ภาชนะน้ำเย็น พานใส่เครื่องรับรอง เป็นต้น
2.8 ตั้งภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์
2.9 เมื่อพระสงฆ์นั่ง ณ อาสนะแล้ว ก็ประเคนเครื่องรับรองที่จัดไว้
2.10 ได้เวลาแล้ว จุดเทียนธูปที่โต๊ะบูชา บูชาพระแล้วไหว้หรือกราบแล้วแต่กรณี
2.11 อาราธนาศีล และรับศีล
2.12 ต่อจากรับศีล อาราธนาพระปริตร เสร็จแล้วไหว้หรือกราบแล้วแต่กรณี
2.13 นั่งฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ด้วยจิตใจสงบ ควรพนมมือตลอด เมื่อจบแล้ว ถวายน้ำร้อนหรือเครื่องดื่มอันควรแก่สมณะ แล้วแต่จะจัด
2.14 ถวายภัตตาหาร หรือไทยธรรมแด่พระสงฆ์
2.15 กรวดน้ำ
การทำบุญงานอวมงคล

งานอวมงคล
ได้แก่งานที่ทำบุญปรารภเหตุที่ไม่เป็นมงคล เช่น ปรารภการตายของบิดามารดา หรือญาติมิตร เป็นต้น ทำบุญในงานฌาปนกิจครบ 7 วัน 50 วัน 100 วันบ้าน ทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันตายบ้าง เพื่อให้เหตุร้ายกลายเป็นดี เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตา การทำบุญในกรณีเช่นนี้ ส่วนใหญ่เหมือนกับงานมงคลดังกล่าวข้างต้น แต่มีข้อแตกต่างกันบ้าง ดังนี้

1. จำนวนพระสงฆ์ที่นิมนต์ นิยมนิมนต์พระสงฆ์จำนวนคู่ เช่น 4 รูป 8 รูป 10 รูป

2. การสวดมนต์ ในงานอวมงคลนี้ ไม่ต้องตั้งบาตรหรือหม้อน้ำมนต์ ไม่ต้องวงด้านสายสิญจน์ที่โต๊ะหมู่บูชา คงใช้แต่ผ้าภูษาหรือด้านสายสิญจน์โยง มาวางไว้บนพานใกล้พระเถระผู้เป็นประธาน

3. ในกรณีงานทำบุญหน้าศพพึงปฏิบัติดังนี้
3.1 อาราธนาพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ มีจำนวนนิยม 4 รูป 8 รูป หรือ 10 รูป หรือกว่านั้นขึ้นไปแล้วแต่กรณี
3.2 ไม่ต้องตั้งภาชนะน้ำสำหรับทำน้ำมนต์ และไม่มีการวงด้ายสายสิญจน์
3.3 เตรียมสายโยงหรือภูษาโยงต่อจากศพไว้ เพื่อใช้บังสุกุล

ส่วนการปฏิบัติเมื่อพระสงฆ์มาถึงแล้ว ก็เป็นเช่นเดียวกับงานมงคล และหลังจากพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว นิยมให้มีการบังสุกุล แล้วจึงถวายไทยธรรม เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนาพึงกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลต่อไปงานทำบุญอัฐิพึงจัดตระเตรียมทำนองเดียวกับงานทำบุญหน้าศพต่างแต่เพียงงานนี้เป็นงานทำบุญหน้าอัฐิหรือรูปที่ระลึกของผู้ที่ล่วงลับ เป็นต้น และระเบียบที่พึงปฏิบัติก็เหมือนกับที่กล่าวแล้วข้างต้น

ข้อปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ

การทำบุญเลี้ยงพระ ตามปกติที่ทำกัน มักนิมนต์พระภิกษุสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ในสถานที่ที่ประกอบพิธี จะมีการถวายภัตตาหารอาจจะเป็นเวลาเช้า เรียกว่า เลี้ยงพระเช้า หรือเวลาก่อนเที่ยงวัน เรียกว่า เลี้ยงพระเพล ซึ่งในการทำบุญเลี้ยงพระ จะนิยมทั้งในงานมงคลและงานอวมงคลทั่วไป

การเตรียมการ เมื่อถึงวันกำหนดทำบุญเลี้ยงพระแล้ว เจ้าภาพจะต้องตระเตรียมในส่วนเฉพาะพิธีสงฆ์ ดังต่อไปนี้

1) สิ่งของที่ใช้ในพิธี โดยสิ่งของเหล่านี้บางสิ่งเจ้าภาพอาจจัดหามา บางสิ่งสามารถยืมจากวัดมาใช้ได้ ได้แก่ โต๊ะหมู่บูชา พระพุทธรูป กระถางธูป ขันหรือบาตรน้ำมนต์ ดอกไม้ ธูปเทียน ที่พรมน้ำมนต์ อาสนะสำหรับพระสงฆ์นั่ง กระโถน แก้วน้ำร้อน-น้ำเย็น สายสิญจน์

2) เครื่องไทยธรรม หมายถึง สิ่งของที่จะใช้ถวายพระภิกษุสงฆ์นอกจากภัตตาหารคาว-หวาน ได้แก่ ภัตตาหารคาว-หวาน น้ำรวมทั้งเครื่องดื่มอันสมควรแก่สมณบริโภค เครื่องนุ่งห่ม เช่น ไตรจีวร อังสะ เป็นต้น

3) การจัดสถานที่ การจัดโต๊ะหมู่บูชา การวงด้ายสายสิญจน์ การตั้งขันน้ำมนต์พร้อมเทียนทำน้ำมนต์ใกล้ ๆ โต๊ะหมู่ การตั้งหรือปูอาสนะพระสงฆ์

ข้อปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ

1) เมื่อพระสงฆ์มาถึงแล้ว เจ้าภาพควรได้คอยต้อนรับท่าน
2) เมื่อพระสงฆ์นั่ง ณ อาสนะแล้ว ก็ประเคนเครื่องรับรองที่จัดไว้
3) ได้เวลาแล้ว จุดธูปเทียนที่โต๊ะหมู่บูชา บูชาพระแล้วกราบนมัสการ ๓ ครั้ง
4) อาราธนาศีล และรับศีล
5) ต่อจากรับศีล อาราธนาพระปริต เสร็จแล้วไหว้หรือกราบแล้วแต่กรณี
6) นั่งฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ เมื่อจบแล้ว ถวายน้ำร้อนหรือเครื่องดื่มอันควรแก่สมณะ
7) ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์
8) เมื่อพระภิกษุสงฆ์ฉันแล้ว ถวายไทยธรรมแด่พระสงฆ์
9) พระสงฆ์อนุโมทนา เจ้าภาพกรวดน้ำ เป็นเสร็จพิธี
10) เจ้าภาพคอยส่งพระสงฆ์กลับวัด

การถวายข้าวพระพุทธ

การถวายภัตตาหารแก่พระพุทธรูป เรียกกันทั่วไปว่า “ถวายข้าวพระพุทธ” การจัดสำรับถวาย ควรจัดให้ประณีต หรืออย่างน้อยก็จัดแบบเดียวกับที่จัดถวายพระสงฆ์ ไม่ควรจัดอย่างลวก ๆ เช่น ใส่อาหารในกระทงหรือถ้วยเล็ก ๆ เหมือนกับการเซ่นไหว้ศาลพระภูมิหรือภูติผีเมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ใกล้จบหรือจบแล้ว พิธีกรจะยกสำรับไปตั้งที่หน้าพระพุทธรูปแล้วเชิญเจ้าภาพ หรือประธานในพิธี
มาทำพิธีบูชา โดยจะจุดธูป 3 ดอกนำไปปักที่กระถางธูป นั่งประนมมือ กล่าวคำบูชาว่า

อิมํ สูปพยญฺชนสมฺปนฺนํ สาลีนํ โอทนํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ

ข้าพเจ้าขอบูชาเครื่องบริโภคแห่งข้าวสาลีอันถึงพร้อมด้วยแกงกับข้าวและน้ำอันประเสริฐนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า (กล่าวจบแล้วกราบ 3 ครั้ง)

การลาข้าวพระพุทธมารับประทานนั้น กระทำเมื่อพระสงฆ์ฉันภัตตาหารแล้ว โดยเจ้าภาพหรือพิธีกรเข้าไปนั่งคุกเข่าหน้าสำรับที่หน้าโต๊ะบูชานั้น กราบ 3 ครั้งแล้วประนมมือกล่าวคำว่า

เสสํ มงฺคลา ยาจามิ
ข้าพเจ้าขอส่วนที่เหลืออันเป็นมงคลนี้ (กราบ 3 ครั้งแล้วจึงยกสำรับกับข้าวออกมา)

การกรวดน้ำ

การกรวดน้ำ หมายถึง การตั้งใจแผ่ส่วนบุญหรือส่วนกุศลที่ได้ทำไปให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปหรือผู้ใดผู้หนึ่ง โดยการรินน้ำใส่ภาชนะเพื่อเป็นเครื่องบ่งถึงเจตนาอุทิศนั้น การกรวดน้ำที่นิยมโดยทั่วไปมี 2 วิธี คือ

1. การกรวดน้ำโดยใช้น้ำหลั่งลงในภาชนะที่รองรับ หากที่หลั่งมีปากเล็ก เวลากรวดน้ำให้ค่อย ๆ รินใส่ที่รองโดยมิให้ขาดสาย เมื่อกรวดเสร็จให้นำไปเทไว้ที่โคนไม้หรือที่กลางแจ้ง ห้ามเทใส่ถังขยะหรือสถานที่สกปรก

2. การกรวดน้ำโดยไม่ต้องใช้น้ำ ใช้ในกรณีที่ไม่ได้จัดเตรียมน้ำสำหรับกรวดหรือหาน้ำกรวดไม่ได้ ผู้กรวดพึงตั้งใจอุทิศส่วนกุศลที่ตนได้ทำให้แก่ผู้ที่ต้องการอุทิศไปให้การกรวดน้ำ สามารถทำได้ทุกเมื่อหลังการบำเพ็ญบุญกุศล ทั้งงานมงคลและงานอวมงคล ส่วนขั้นตอนการกรวดน้ำเริ่มจากที่พระสงฆ์กล่าวอนุโมทนาว่า ยถา วาริวหา ให้เริ่มเทน้ำกรวดพร้อมกับตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้แก่ผู้ที่ต้องการให้รับ โดยอาจระบุชื่อ นามสกุล ด้วยก็ได้ หรืออาจจะอุทิศโดยไม่เจาะจงผู้ใดผู้หนึ่งก็ได้